วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การแปลบันเทิงคดี

                                                                                การแปลบันเทิงคดี


                บันเทิงคดีหมายถึงงาน งานเขียนทุกประเภทที่ไม่อยู่ในประเภทของงานวิชาการและสารคดีทั้งนี้หมายรวมถึงงานร้อยแก้วและร้อยกรอง
                1.องค์ประกอบของงานเขียนแบบบันเทิงคดีบันเทิงคดีเป็นงานเขียนที่มีรูปแบบแตกต่างจากสารคดีทั้งในด้านเนื้อหาและองค์ประกอบทางภาษา ในด้านเนื้อหาบันเทิงคดีจะเสนอเนื้อหาสาระที่มีความจริงบ้างเช่นกันเหล้าหรือบรรยายชีวิตความเป็นอยู่ตามธรรมชาติแต่ก็จะสอดแทรกทัศนะความรู้สึกหรือประสบการณ์ของผู้เขียนรายงานที่เขียนด้วยโดยจะเน้นไปทางให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านหรือและมีการถ่ายทอดจินตนาการของผู้เขียน ในการไปบันเทิงคดีผู้แปลต้องคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญสองประการคือองค์ประกอบด้านภาษาและองค์ประกอบที่ไม่ใช่ภาษาซึ่งหมายถึงอารมณ์ไม่ถูกทำนองของงานซึ่งอารมณ์ไม่ต้องทำนองของงานจะสะท้อนออกในองค์ประกอบของภาษาดังนั้นองค์ประกอบด้านภาษาจึงเป็นประเด็นที่ผู้ป่วยจะต้องให้ความใส่ใจเป็นอย่างยิ่งในการ แปลงานบันเทิงคดี

วันเสาร์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

หลักการแปลวรรณกรรม

หลักการแปลวรรณกรรม

                วรรณกรรม หมายถึง หนังสือที่แต่งขึ้นด้วยความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะใช้ร้อยแก้วหรือร้อยกรอง ตามปกติวรรณกรรมถูกจัดไว้ในงานประเภท บันเทิงคดี
                งานบันเทิงคดีที่จะนำมากล่าวถึงนี้คือ งานแปลนวนิยาย เรื่องสั้น นิทาน นิยาย บทละคร การ์ตูน บทภาพยนตร์ บทเพลง เป็นวรรณกรรมที่ผู้อ่านมุ่งหวังที่จะได้รับความบันเทิงเพลิดเพลินเป็นใหญ่
                หลักการแปลนวนิยาย
                นวนิยายแปลเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในทุกประเทศและทุกกาลสมัย ผู้แปลมีความสำคัญเกือบจะเท่าผู้แต่ง ในบางครั้งมีความสำคัญยิ่งกว่าผู้แต่ง
                1.การแปลชื่อเรื่องวรรณกรรม          ชื่อของหนังสือหรือภาพยนตร์มีความสำคัญเป็นอันดับแรกซึ่งการแปลชื่อเรื่องมีความสำคัญเทียบเท่าใบหน้าของคนเราซึ่งจะต้องความพิถีพิถันในการแปล โดยทั่วไปมีหลักการอยู่ 4 แบบดังนี้

text types

รูปแบบการเขียน
                รูปแบบการเขียน (Form of writing) หมายถึง วิธีการเรียบเรียงเนื้อหาในการเขียน ซึ่งมีโครงสร้างที่เป็นแบบแผน มีคุณลักษณะและมีองค์ประกอบหลักที่ใช้การเขียนสำหรับรูปแบบ  รูปแบบการเขียนมีหลายรูปแบบ แตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของงานเขียน
จุดประสงค์ในการเขียน
                จุดประสงค์ในการเขียนมีหลายประการตามความต้องการของผู้เขียนซึ่งจะเป็นตัวกำหนดรูปแบบการเขียน จุดประสงค์ในการเขียนโดยทั่วไปมีผู้รวบรวมไว้ดังต่อไปนี้
                1.    เพื่อเล่าเรื่อง บอกเรื่องราวต่างๆจากประสบการณ์ เช่น เล่าประวัติ เล่าเหตุการณ์ เล่าประสบการณ์ชีวิต เล่าเรื่องราวตามลำดับเหตุการณ์ บันทึกเหตุการณ์ บันทึกประจำวัน

วันอังคารที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การถ่ายทอดตัวษร


การถ่ายทอดตัวษร

                การถ่ายทอดตัวอักษรหมายถึงการนำคำในภาษาหนึ่งมาเขียนด้วยตัวอักษรของอีกภาษาหนึ่งโดยพยายามให้การเขียนในภาษาใหม่นี้ถ่ายทอดเสียงของคำในภาษาเดิมให้ใกล้เคียงที่สุดเท่าที่จะทำได้การถ่ายทอดตัวอักษรมีบทบาทในการแปลจากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่งในกรณีต่อไปนี้
                1 เมื่อในภาษาต้นฉบับมีที่ใช้แทนชื่อเฉพาะของสิ่งต่างๆเช่นชื่อคนชื่อสถานที่ชื่อภูเขาแม่น้ำหรือแม้แต่ชื่อสถาบันต่างๆ
                2 เมื่อคำในภาษาต้นฉบับมีความหมายอ้างอิงถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรมที่ไม่มีในสังคมของภาษาฉบับแปลจึงไม่มีคำเปรียบเทียบได้เช่นคำที่ใช้เรียกต้นไม้ซับและกิจกรรมบางชนิดความคิดในกรณีนี้ พูดเลยอาจแก้ปัญหาได้สองประการคือ (1) ใช้วิธีการให้คำนิยามหรือคำอธิบายที่บอกลักษณะตรงกับคำเดิมนั้นหรือ (2) ใช้ทับศัพท์ตัวอย่างเช่นคำว่าฟุตบอลซึ่งเมื่อถ่ายทอดเป็นอักษรภาษาไทย จะให้คำนิยามว่าลูกกลมกลมที่ทำด้วยหนังในการทำดังนี้ผู้ป่วยควรยึดหลักปฏิบัติในการโทรเสียงของคำดังต่อไปนี้

The passive


The passive



                 S           V      O
ACTIVE: Mary helped the boy.
                          S           V      O
PASSIVE: The boy was helped by Mary.



Form of the passive: be + past participle.
ACTIVE: An accident happened.
PASSIVE: none

Only transitive verbs are used in the passive. It’s not possible to use verbs such as happen, sleep, and come.
ACTIVE                                                                PASSIVE
Simple present              Mary     helps                   john.   John      is helped                          by marry
Present progressive     Mary     is helping            john.   John       is being  helped               by marry
Present perfect             Mary    has helped          john.    John       has been helped               by marry
Simple past                   Mary    helped                john.    John       was helped                       by marry
Past progressive           Mary     was helping        john.   John      was being helped             by marry
Past perfect                   Mary     had helped         john.   John      had been helped               by marry
Simple future                Mary     will help              john.  John      will be helped                   by marry
Be going to                   Mary    is going to help   john.  John       is going to helped             by marry
Future perfect*             Mary     will have helped john.  John      will have been helped      by marry

หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง

หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง

ภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติ

                                                                                ภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติ
                                                                                                                        (สิทธา พินิจภูวดล)

                การเขียนที่ดีต้องเขียนด้วยภาษาที่เป็นธรรมชาติคือภาษาที่คนพูดกันทั่วไปในสังคมไทยเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ทันที องค์ประกอบที่นักแปลต้องพิจารณาเพื่อให้งานที่แปลเป็นภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติได้แก่คำ ความหมาย การสร้างคำ สำนวนโวหาร
 คำ ความหมาย ในการสร้างคำ
                คำว่าทำมีความหมายแตกต่างกันหลายอย่างมีทั้งความหมายตรงและความหมายแฝงมีความหมายเชิงเปรียบเทียบและคำบางคำมีความหมายต่างกันไปตามยุคสมัยเช่นคำว่ากู อดีตเป็นคำที่ใช้พูดจากันโดยทั่วไปแต่ปัจจุบันเป็นคำหยาบที่มีความหมายเลวลงและจำกัดแคบลง
การสร้างคำกริยา