วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การแปลบันเทิงคดี

                                                                                การแปลบันเทิงคดี


                บันเทิงคดีหมายถึงงาน งานเขียนทุกประเภทที่ไม่อยู่ในประเภทของงานวิชาการและสารคดีทั้งนี้หมายรวมถึงงานร้อยแก้วและร้อยกรอง
                1.องค์ประกอบของงานเขียนแบบบันเทิงคดีบันเทิงคดีเป็นงานเขียนที่มีรูปแบบแตกต่างจากสารคดีทั้งในด้านเนื้อหาและองค์ประกอบทางภาษา ในด้านเนื้อหาบันเทิงคดีจะเสนอเนื้อหาสาระที่มีความจริงบ้างเช่นกันเหล้าหรือบรรยายชีวิตความเป็นอยู่ตามธรรมชาติแต่ก็จะสอดแทรกทัศนะความรู้สึกหรือประสบการณ์ของผู้เขียนรายงานที่เขียนด้วยโดยจะเน้นไปทางให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านหรือและมีการถ่ายทอดจินตนาการของผู้เขียน ในการไปบันเทิงคดีผู้แปลต้องคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญสองประการคือองค์ประกอบด้านภาษาและองค์ประกอบที่ไม่ใช่ภาษาซึ่งหมายถึงอารมณ์ไม่ถูกทำนองของงานซึ่งอารมณ์ไม่ต้องทำนองของงานจะสะท้อนออกในองค์ประกอบของภาษาดังนั้นองค์ประกอบด้านภาษาจึงเป็นประเด็นที่ผู้ป่วยจะต้องให้ความใส่ใจเป็นอย่างยิ่งในการ แปลงานบันเทิงคดี

                 2. องค์ประกอบด้านภาษาองค์ประกอบด้านภาษาที่เกี่ยวข้องกับการแปลงานบันเทิงคดีสามารถแบ่งออกเป็นสามกลุ่มได้แก่การใช้สรรพนามและคำเรียกบุคคล การใช้คำที่มีความหมายแฝงและภาษาเฉพาะวรรณกรรม
                                 2.1 ภาษาที่มีความหมายแฟงคำศัพท์ในภาษาใดใดประกอบด้วยคำศัพท์ที่มีความหมายตรงตัวหรือความหมายตามตัวสอนเช่นคำว่าไก่ซึ่งนอกจากมีความหมายตรงตัวแล้วยังมีความหมายเซงด้วยในการเต็มได้ก็ดีผู้แปลจะต้องให้ความใส่ใจต่อคำศัพท์ทุกตัวต้องพิจารณาว่าคำศัพท์นั้นมีความหมายตรงตัวหรือ หรือมีสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากความหมายตรงตัวด้วยดังนั้นผู้ป่วยจะต้องใช้ความสามารถปฏิภาณไว้พริบอาการบวมต้องใช้วิจารณาญาณเพื่อตัดสินว่าคำศัพท์ที่พบในงานนั้นมีความหมายแฝงได้ได้อยู่บ้าง เล่นในการแปลแต่ละครั้งผู้แปลควรอ่านข้อความในต้นฉบับได้ตลอดจนจบอย่างน้อยหนึ่งครั้งเพื่อเป็นการทำความเข้าใจเนื้อหาโดยรวม
                                 2.2 ภาษาเฉพาะวรรณกรรมหรือโวหารภาพพจน์บันเทิงคดีมีรูปแบบภาษาเฉพาะหลายชนิดซึ่งผู้ป่วยจะต้องรอบรู้และนำมาใช้อย่างเหมาะสมรูปแบบเฉพาะที่ใช้ในบันทึกคดีซึ่งเรียกว่าโวหารภาพพจน์อาทิโวหารอุปะมาอุปมัยโวหารอุปะรักโวหารเยอะยันเสียดสีโวหารที่กล่าวเกินจริงภาษากลุ่มนี้มีลักษณะเด่นประการหนึ่งคือการสะท้อนวัฒนธรรม บ้านต่างๆลงไปในตัวภาษาอันได้แก่หัวหน้าทำการกินอยู่แต่งกายการงานอาชีพรวมทั้งพูมิอากาศดินฟ้าความเชื่อศาสนาเศรษฐกิจการเมืองและเชื่อมโยงทุกแง่มุมของวัฒนธรรมในไออ่ะทำของมนุษยชาติโดยถ่ายทอดผ่านทางภาษาสำหรับการเรียนและฝึกแปล ภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษเนื้อกระเบื้องตอนนี้ผู้เรียนจะต้องรู้จักเลยทำความคุ้นเคยกับโวหารภาพพจน์ดังกล่าวโดยเฉพาะโวหารอุปมาอุปไมยซึ่งเป็นโวหารภาพพจน์ที่ปรากฏบอยโอฮาชินี้มีลักษณะภาษาชัดเจนนั้นจะปรากฏในหัวข้อต่อไปนี้
                                                2.2.1 โวหารอุปะมาอุปมัยคือการสร้างภาพพจน์โดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อชี้แจงอธิบายหรือเน้นสิ่งที่กล่าวถึงให้ชัดเจนและเห็นภาพจริงมากยิ่งขึ้นข้อสังเกตคือโวหารอุปะมาอุปมัยทั้งในภาษาอังกฤษในภาษาไทยมักมีคำที่ใช้เป็นลักษณะเฉพาะตัวของภาษาชนิดนี้อยู่อย่างชัดเจนเช่น ดัง,ดั่ง,เหมือน, เปรียบเหมือน,เหมือนกับว่า,เฉกเช่น, เปรียบประดุจ, like,as,be like โวหารอุปะมาอุปมัยทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษมาเกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบสองประเภทคือการเปรียบเทียบคำนี้กับคำนามและการเปรียบเทียบคำกริยากับคำเคลียร์ในการไปรต้นฉบับภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษซึ่งมีองค์ประกอบทางไวยากรณ์ชัดเจนตายตัวปุ๊บเลยต้องเข้มงวดและยึดหลักพยากรณ์อย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะการแปลโวหารอุปะมาอุปมัยที่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนเสมือนการสมมุติซึ่งอาจเป็นการสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้
                                                2.2.2 รูปแบบของโวหารอุปลักษณ์ โวหารอุปลักษณ์หมายถึงการเปรียบเทียบความเหมือนและไม่เหมือนของสิ่งที่จะเปรียบเทียบมากล่าวดังตัวอย่างเงินตราคือพระเจ้าชีวิต เขายืนอยู่บนเส้นด้าย เขาเป็นดังแก้วตาดวงใจของพ่อแม่ภาษาสองภาษาใดใดในโลกเช่นภาษาไทยและภาษา อังกฤษอาจมีโวหารอุปะรักจำนวนหนึ่งเหมือนกันแต่สำนวนอปลักษณ์จำนวนมากของแต่ละภาษามีลักษณะเฉพาะในภาษานั้นนั้นทั้งนี้เนื่องจากสำนวนอุปลักษณ์เกิดจากความสามารถของนักประพันธ์ในการประดิษฐ์ภาษาขึ้นใช้ในงานประพันธ์ของตนดังนั้นการแปลสำนวนอุปลักษณ์จึงต่างจากการแปลความทั่วๆไป
                                                2.2.3 กลางแปลงโวหารอุปมาอุปไมยและโวหารอุปลักษณ์ การแปลโวหารอุปมาอุปมัยและโวหารอุปลักษณ์ผู้แปลจะต้องปรับโวหารเหล่านั้นให้เหมาะสมกับวัฒนธรรมของภาษาแปลโดยหลักปฏิบัติดังนี้
                                                 a. เมื่อรูปแบบของภาษาสอดคล้องกันและมีความหมายเหมือนกันทั้งสองภาษาผู้แปลจะต้องแปลโวหารอุปมาอุปไมยนั้นตามตัวอักษรเท่านั้น
                                                 b. เมื่อโวหารอุปมาอุปมัยและโวหารอุปลักษณ์นั้นไม่มีความสำคัญต่อเนื้อหาของงานเขียนผู้แปลอาจตัดทิ้งโดยไม่แปล
                                                c. เมื่องานแปลเป็น authoritative text เช่นกวีนิพนธ์เอกของโลกผู้แปลคนไปโวหารนั้นตามตัวอักษรโดยใช้เครื่องหมายของผู้แปลเพื่อชี้แจงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้เหลือธิบายความหมายของอุปมาอุปไมยไว้ในเชิงอรรถ

                                                d. ศึกคนโวหารอุปมาอุปไมยและอุปลักษณ์ที่ปรากฏในงานเขียนชนิดต่างๆในภาษาแปลผู้เขียนอาจใช้โวหารอุปมาอุปไมยและอุปลักษณ์สองชนิดคือสำนวนโวหารที่คิดขึ้นใหม่ยังไม่มีบัญญัติ ไว้ในวัฒนธรรมการใช้ภาษามาก่อนและอุปมาอุปไมยที่มีอยู่ในภาษาตั้งแต่บูรณาการอย่างไรก็ตามการแปลสำนวนโวหารทั้งสองประเภทนี้เราจะพบว่าการเปรียบเทียบมากมีความเกี่ยวข้องกับก็ได้ทำในภาษาต้นฉบับเสมอ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น